หญิงตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ จะรู้สึกตื่นเต้นยินดีและอาจมีความกังวลใจเมื่อร่างกายเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ดูแลสุขภาพ...
หญิงตั้งครรภ์ทุกคนที่แพทย์แผนไทยให้การดูแล ถ้ามีภาวะเสี่ยง* ดังต่อไปนี้ สมควรได้รับการพบแพทย์ และควรได้รับการดูแลร่วมกับแพทย์แผนปัจจุบัน...
หญิงตั้งครรภ์ในระยะ 12 สัปดาห์แรกจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ ทานอาหารไม่ได้ อ่อนเพลีย การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในระยะนี้ ด้วยการแพทย์แผนไทย มีดังนี้...
หญิงตั้งครรภ์ในสัปดาห์ที่ 12-28 จะมีปัญหามดลูกโตขึ้น น้ำหนักเพิ่มมากชึ้น เต้านมขยาย หัวนมขยาย ท้องอืดท้องเฟ้อ การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในระยะนี้ ด้วยการแพทย์แผนไทย มีดังนี้...
หญิงตั้งครรภ์ในสัปดาห์ที่ 28 จนถึงคลอด จะมีอาการจุกแน่นท้องอาหารย่อยยาก ปวดแสบท้อง ท้องผูก ปวดเมื่อย บวม ชา ผื่นคัน นอนไม่หลับ ปวดศีรษะจากความกังวล พักผ่อนไม่เพียงพอ ความวิตกกังวล ตกขาว การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในระยะนี้ ด้วยการแพทย์แผนไทย มีดังนี้...
หญิงตั้งครรภ์ที่รอคลอดจะมีความกลัวและมีอาการเจ็บครรภ์คลอด มีอาการปวดหลัง ปวดกระเบนเหน็บ ปวดขา นอกจากการดูแลด้านจิตใจ ปลอบขวัญและให้กำลังใจ แล้วสามารถดูแลด้วยการแพทย์แผนไทย ดังนี้...
หญิงหลังคลอดที่่ผ่านการคลอดปกติ หรือผ่าตัดคลอด อาจจะมีอาการแทรกซ้อนหลังคลอดได้ ที่สำคัญต้องการฟื้นฟูสุขภาพเพื่อการให้นมบุตร ซึ่งมีวิธีการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทยมากมายหลายวิธี ...